THE BEST SIDE OF สังคมผู้สูงอายุ

The best Side of สังคมผู้สูงอายุ

The best Side of สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

ประเทศไทยชูนวัตกรรมเพื่อการสูงวัยอย่างมีคุณภาพ

ดร.นพพล ชี้ประเด็นสำคัญก่อนจะเผยเงื่อนไขสำคัญหากจำเป็นต้องชูนโยบายกระตุ้นการมีบุตร

ภูษิต ชี้ประเด็นพร้อมระบุว่า ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นหนึ่งในแนวทางที่ตอบโจทย์การดูแลและพัฒนาผู้สูงอายุ แต่ต้องมีรูปแบบที่ตอบสนองผู้สูงอายุแต่ละกลุ่มวัย ขณะเดียวกัน บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีส่วนสำคัญในการสร้างพลังที่เข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุ ด้วยการจัดระบบช่วยเหลือผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงและเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุที่ยังมีกำลังใช้ศักยภาพทำประโยชน์ให้กับชุมชน เป็นสิ่งดีที่ควรสนับสนุนขยายความเข้มแข็งของชุมชนฐานรากในการดูแลผู้สูงอายุ เพราะเราคงหวังพึ่งรัฐบาลเพียงฝ่ายเดียวไม่ได้ แต่ภาคประชาชนชุมชนก็ต้องช่วยกัน

สังคมไทยยังมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกี่ยวกับ “คุณค่า” หรือ “ฐานคิด” โดยเฉพาะการออกแบบระบบความคุ้มครองทางสังคม หากสามารถทำให้เกิดข้อสรุปที่ยอมรับร่วมกันจากภาคส่วนต่าง ๆ ก็จะเป็นหัวใจในการกำหนดทิศทางนโยบายได้อย่างราบรื่น ยกตัวอย่างเช่น การดูแลผู้สูงอายุโดยครอบครัวอาจจะเป็นกระแสหลัก โดยบางพื้นที่ชุมชนเข้มแข็งพอที่จะช่วยกันดูแลผู้สูงอายุ แต่สำหรับหลายครอบครัวหรือหลายชุมชนอาจจะไม่เป็นเช่นนั้น การสร้างหลักประกันด้านรายได้ยามชราภาพด้วยระบบบำนาญและการออมก็ขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าเช่นกัน เราจะเลือกฐานคิดความรับผิดชอบส่วนบุคคล (เน้นการออมส่วนบุคคล) การช่วยเหลือเกื้อกูลกันหรือหลักภราดรภาพ (ใช้แนวทางการประกันสังคม) แนวคิดสิทธิขั้นพื้นฐาน หรือการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส แนวนโยบายจะเปลี่ยนแปลงไปตามการกำหนดคุณค่าเหล่านี้

พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒

การที่คนในสังคมไม่นิยมมีบุตรทำให้คนวัยทำงานลดลง ซึ่งโดยนัยทางเศรษฐศาสตร์หมายถึงผู้มีกำลังชำระภาษีให้แก่ส่วนกลางย่อมน้อยลง รวมถึงคนที่ทำงาน และช่วยดูแลผู้สูงอายุในอนาคตน้อยลงด้วยเช่นกัน แต่นั่นไม่ควรเป็นเงื่อนไขว่าผู้ดูแลผู้สูงอายุในอนาคตจะหายไป รวมถึงความสุขของผู้สูงอายุด้วย

การประชุมระดับชาติ “ประชากรและสังคม”

ท่านสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ศาสตราจารย์ เภสัชกรหญิง ดร.พรอนงค์ สังคมผู้สูงอายุ อร่ามวิทย์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

- ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุขอนแก่น

- ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบุรีรัมย์

ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อประเทศไทยค่อนข้างมาก เพราะเรามีกลุ่มประชากรวัยทำงานน้อยลง ส่งผลโดยตรงต่อกำลังการผลิตและเศรษฐกิจภายในประเทศ เพราะจะขาดแคลนกำลังคนทั้งในเรื่องของคุณภาพและปริมาณ ทำให้กลุ่มวัยทำงานมีรายได้และค่าใช้จ่ายใกล้เคียงกัน ทำให้ขาดดุลรายได้การบริโภค ขาดเงินออม และไม่สามารถเกื้อหนุนกลุ่มเด็กและผู้สูงอายุได้

“หากอยู่อาศัยกับบุตรหลานโดยตรง ผู้สูงอายุมักจะไม่ได้รับเงินจากบุตรหลานมากนัก แต่จะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดแทน ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ลำพังที่จะได้รับเงินจากบุตรหลาน แต่ขาดการดูแลอย่างใกล้ชิด ซึ่งถือเป็นเรื่องปกติ เพราะบุตรหลานอยู่ไกลจากพ่อแม่ การถ่ายโอนเงินและเวลาในครอบครัวสะท้อนถึงค่านิยมเรื่องของความกตัญญู” รศ.ดร.นพพล เผย

ด้วยเหตุนี้ ทางการจึงพยายามแก้ปัญหาสังคมสูงวัยด้วยการให้ประชาชนได้สิทธิลาคลอดเพื่อเลี้ยงดูบุตรโดยได้รับเงินเดือนเต็มจำนวนเป็นระยะเวลายาวนานที่สุดแห่งหนึ่งในโลก

Report this page